1. ระบบการบริหารงานบุคคลมีอะไรบ้าง
1. ระบบคุณธรรม Merit System ใช้หลักเกณฑ์
1.1 หลักความเสมอภาค
เช่น มีสิทธิสอบได้ทุก
1.2 หลักความสามารถ
เช่น คัดเลือกผู้มีความสามารถสูงไว้ก่อน
1.3 หลักความมั่นคง
เช่น ถ้าไม่ผิดวินัย ก็ไม่ถูกลงโทษให้ออก อยู่จนเกษียณ
1.4 หลักความเป็นกลางทางการเมือง
เช้า ห้ามข้าราชการเป็นกรรมการบริษัท
2. ระบบอุปถัมภ์ Patronage System ยึดถือพวกพ้อง เครือญาติ
หรือผู้มีอุปการะคุณ
2. การจำแนกตำแหน่งมีกี่ประเภทอะไรบ้าง
มี 3 ประเภท
1.จำแนกตำแหน่งตามลักษณะตำแหน่ง Position Classification เป็นการจำแนกตำแหน่งโดยถือลักษณะความรับผิดชอบของตำแหน่งเป็นสาคัญ เช่น กลุ่มเจ้าหน้าที่ธุรการ การเงิน นิติกร วิศวกร เป็นต้น
2.การจำแนกตำแหน่งตามลักษณะยศ Rank Classification เป็นการจำแนกตำแหน่งตามตำแหน่งที่ประกอบกับชั้นยศ ใช้กับทหาร ตำรวจ
3. การจำแนกตำแหน่งตามลักษณะชั้นยศทางวิชาการ Academic Rank Classification จำแนกตามคุณลักษณะความเชี่ยวชาญ วิชาการ เช่น ครู อาจารย์
3. ขั้นตอนของการวางแผนกำลังคนมีอะไรบ้าง
1.จำแนกตำแหน่งตามลักษณะตำแหน่ง Position Classification เป็นการจำแนกตำแหน่งโดยถือลักษณะความรับผิดชอบของตำแหน่งเป็นสาคัญ เช่น กลุ่มเจ้าหน้าที่ธุรการ การเงิน นิติกร วิศวกร เป็นต้น
2.การจำแนกตำแหน่งตามลักษณะยศ Rank Classification เป็นการจำแนกตำแหน่งตามตำแหน่งที่ประกอบกับชั้นยศ ใช้กับทหาร ตำรวจ
3. การจำแนกตำแหน่งตามลักษณะชั้นยศทางวิชาการ Academic Rank Classification จำแนกตามคุณลักษณะความเชี่ยวชาญ วิชาการ เช่น ครู อาจารย์
3. ขั้นตอนของการวางแผนกำลังคนมีอะไรบ้าง
ศึกษานโยบายและแผนขององค์การ กระบวนการวางแผนกำลังคนต้องให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนขององค์การ
และคาดคะเนปัจจัยหลาย ๆ อย่างที่มีผลกระทบต่อการกำหนดนโยบายและแผนขององค์การ เช่น แนวโน้มของธุรกิจนั้น
ๆ ในอนาคต,
การขยายตัวและการเจริญเติบโตขององค์การ (และคู่แข่ง),
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบและโครงสร้างองค์การ, การเปลี่ยนแปลงในแนวคิดปรัชญาการบริหารในอนาคต,
บทบาทของรัฐบาล, บทบาทสหภาพแรงงาน, การแข่งขันของธุรกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศ
4. การวางแผนกำลังคนที่ดีทมีอะไรบ้าง
4. การวางแผนกำลังคนที่ดีทมีอะไรบ้าง
1. ภาระงาน Workload หน้าที่ความรับผิดชอบชั่วโมงงาน
2. การออกแบบงาน Job Design เป็นการออกแบบโครงสร้างงานต่างๆ ทั้งองค์การว่ามีกลุ่มงานอะไรบ้าง
3. การวิเคราะห์งาน Job Analysis วิเคราะห์งานแต่ละตำแหน่ง กาหนดคุณลักษณะที่จำเป็นแต่ละตำแหน่ง เช่น ความสำคัญของงาน
ระดับความเป็นอิสระ ตัวบ่งชี้ผลลัพธ์ของงาน ความรู้ความสามารถและทักษะที่จำเป็น เพื่อกำหนดรายละเอียดของตาแหน่ง
Job Description และคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง Job Specification
4. รายละเอียดของตำแหน่งงาน Job Description เป็นการกำหนดชื่อตำแหน่งงานที่ต้องปฏิบัติ
4. รายละเอียดของตำแหน่งงาน Job Description เป็นการกำหนดชื่อตำแหน่งงานที่ต้องปฏิบัติ
5. คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง Job
Specification เป็นการกำหนดรายละเอียดในตำแหน่งลึกลงไปอีก 6. การทำให้งานมีความหมาย
Job Enrichment เป็นวิธีการจูงใจและพัฒนาบุคลากรให้เกิดความพึงพอใจในการทำงาน
(จิ๋วแต่แจ๋ว, เล็กดีรสโต) (Job
Enlargement) เล็ก ๆ มิต้าไม่ ใหญ่ ๆ มิต้าทา 5. องค์ประกอบของการอำนวยการมีอะไรบ้าง จงอธิบาย
1.ความเป็นผู้นำ ; เป็นกระบวนการของการสั่งการ และการใช้อิทธิพลต่อกิจกรรมต่างๆ ของสมาชิกในองค์การ
ให้ยอมตามเพราะยอมรับในอำนาจที่มาจาก 3 แหล่ง คือ ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดกันมา
อำนาจจากบารมี และอำนาจตามกฎหมาย จึงก่อให้เกิดผู้นา 3 แบบ คือ
แบบประชาธิปไตย แบบเผด็จการ และแบบตามสบาย
2.การจูงใจ ; มีความสำคัญต่อการสั่งการหรือการอำนวยการ เพราะเกี่ยวกับบุคลากรให้ปฏิบัติงาน
จึงจำเป็นต้องมีการจูงใจหรือกระตุ้นให้อยากทำงาน โดยอาศัยหลักธรรมชาติว่ามนุษย์ต้องการ
5 ระดับได้แก่ความต้องการขั้นพื้นฐาน คือปัจจัย 4 ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย ความต้องการทางสังคม ความต้องการมีเกียรติยศชื่อเสียง
และความต้องการประสบความสาเร็จในชีวิต
ดังนั้น ในการสั่งการโดยมีเทคนิคจูงใจด้วย ก่อนจะสั่งการควรขึ้นคำถามก่อนว่า “พอมีเวลาหรือไม่” หรือ “คุณจะช่วยงานนี้ได้ไหม”
3. การติดต่อสื่อสาร; เป็นกระบวนการสำคัญช่วยให้การอานวยการดำเนินไปได้ด้วยดีมีประสิทธิภาพ มี
2 ลักษณะคือ สื่อสารแบบทางเดียว และสื่อสารแบบ 2 ทาง
4. องค์การและการบริหารงานบุคคล
จุดมุ่งหมายของนักอำนวยการคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและองค์การ ซึ่งต้องการไม่เหมือนกันผู้อำนวยการจึงต้องทำให้เกิดความสมดุลกัน
6.
ประเภทของการอำนวยการมีกี่ประเภทอะไรบ้าง
-โดยวาจา
-โดยลายลักษณ์อักษร ได้แก่
1. ทาบันทึกข้อความ
2. หนังสือเวียน
3. คาสั่ง
4. ประกาศ
7.
รูปแบบของการอำนวยการมีอะไรบ้าง
1.คำสั่งแบบบังคับ
2.คำสั่งแบบขอร้อง
3.คำสั่งแบบแนะนำหรือโดยปริยาย
4.คำสั่งแบบข้อความสมัครใจ 8. การอำนวยการที่ดีมีอะไรบ้าง
•ต้องชัดเจน
•ให้คำสั่งมีลักษณะแน่นอน ไม่ใช่ตามอารมณ์
•ถ้าผู้รับคำสั่งมีท่าทีสงสัย ให้ขจัดความสงสัยทันที
•ใช้น้ำเสียงให้เป็นประโยชน์
•วางสีหน้าเข้มแข็งเอาจริงเอาจัง
•ใช้ถ้อยคำอย่างสุภาพ
•ลดคำสั่งที่มีลักษณะ “ห้าม” การกระทำให้เหลือน้อยที่สุด
•อย่าออกคำสั่งในเวลาเดียวกัน มากเกินไป
•ต้องแน่ใจว่าการออกคำสั่งหลาย ๆ คำสั่ง ไม่ได้ขัดแย้งกันเอง
•ถ้าผู้รับปฏิบัติ ปฏิบัติไม่ได้ อย่าบันดาลโทสะ พิจารณาตนเองว่าเหตุใดคำสั่งไม่ได้ผล
อย่าโยนความผิดให้ผู้รับคำสั่ง
9.
ให้นิสิตอธิบายความเชื่อมโยงการบริหารงานบุคคลกับการอำนวยการมีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศุนย์ทรัพยากรการเรียนอย่างไร
การอำนวยการในการจัดการศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้
ต้องพิจารณาถึงปัญหาและความก้าวหน้าของหน่วยงานโดยมุ่งสู่เป้าหมายขององค์กรเป็นหลักในการตัดสินใจ
ดังนั้นการอำนวยการจึงต้องใช้ศาสตร์และศิลป์ในการอำนวยการ