วันศุกร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2555

กิจกรรมสัผดาห์ที่ 3 ตัวอย่างผังโครงสร้างของศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้


ตัวอย่างผังโครงสร้างของศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้



การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการเรียนรู้ งานบริหารทั่วไป  การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการเรียนรู้ งานบริหารทั่วไป 
                 มีความรับผิดชอบในด้านพัฒนา
 ระบบเทคโนโลยี และสารสนเทศ  ในด้าน ระบบโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructures) ระบบเนื้อหาสาระและข้อมูลข่าวสาร (Information Contents ) การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Intellectual Personnel) การประยุกต์ระบบและทรัพยากรในระบบเพื่อกิจกรรมของคณะวิศวกรรมศาสตร์อย่างมีองค์รวม (Integrated Applications) และรวมถึงการให้บริการ สนับสนุนการยืมสื่อ ผลิตสื่อการเรียนการสอน ซึ่งงานหลักที่รับผิดชอบทั้งหมดประกอบด้วย     
1.  งานเทคโนโลยีการศึกษา       
2.  งานบริการสำนักงานและพัฒนาบุคลากร   
3.  งานระบบเครือข่ายและสารสนเทศ        
4.   งานเทคนิคและปฎิบัติการ
งานเทคโนโลยีทางการศึกษา                 ทำหน้าที่สนับสนุนการเรียนการสอน ให้บริการจัดยืมสื่อและบริการสื่อ ผลิตสื่อการเรียนการสอน ตลอดจนสนับสนุนอุปกรณ์ช่วยในการเรียนการสอน กิจกรรม กิจการพิเศษ ด้านงานการบริหารงานเทคโนโลยีการศึกษา  ด้านการบริการการศึกษา
งานบริการสำนักงาน                 ทำหน้าที่สนับสนุนการดำเนินงานในด้านบริหาร ประกอบไปด้วยงานบริการและงานธุรการ งานด้านการเงินและพัสดุ งานประกันคุณภาพ  งานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  และ งานด้านการเรียนการสอน
งานระบบเครือข่ายและสารสนเทศ                 ทำหน้าที่ สนับสนุนและให้บริการการศึกษา ด้านระบบเครือข่ายและระบบสารสนเทศ แก่ อาจารย์ ข้าราชการ บุคลากร และนักศึกษา ซึ่งมีการจัดการ ควบคุมดูแล บำรุงรักษา ด้านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตของคณะฯ ให้คำปรึกษาแก่ภาควิชาต่างๆ รวมทั้งจัดสรรรหัสอินเทอร์เน็ต (IP) และโดเมน (domain name) มีการให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) และมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและการบริหาร มีระบบการจัดการการเรียนการสอน (e-learning) ตลอดจน การให้บริการบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ และอุปกรณ์ด้านสารสนเทศต่างๆ โดยแบ่งเป็นฝ่ายต่าง ๆ ดังนี้   ฝ่ายพัฒนาระบบสารสนสนเทศ ฝ่ายระบบเครือข่าย ฝ่ายเทคนิคและปฏิบัติการแหล่งอ้างอิงของโครงสร้างศูนย์  วันที่ค้นข้อมูล 14 ธันวาคม 2554,เข้าถึงได้จากhttp://eits.eng.cmu.ac.th/website2010/?page_id=37
2 เป็นโครงสร้างประเภทศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้สำหรับการศึกษาในระบบเพราะว่าเป็นศูนย์ที่พัฒนาสื่อให้ผู้สอนนำไปปรับใช้กับการสอนของตน

ตัวอย่างผังที่2โครงสร้างของศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้

1 แหล่งอ้างอิงของโครงสร้างศูนย์วันที่ค้นข้อมูล 13 ธันวาคม 2554,เข้าถึงได้จากhttp://rise.swu.ac.th/Default.aspx?tabid=7448 
2 โครงสร้างดังกล่าวเป็นประเภทใด เพราะเหตุใดเป็นประเภทศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้สาหรับการศึกษาตามอัธยาศัยเพราะว่าเป็นการศึกษาที่ไม่ได้บังคับให้ไปเรียนแต่ผู้ที่ไปเรียนเพื่อเพิ่มพูนความรู้พัฒนาตนเอง



กิจกรรมสัปดาห์ที่ 3 ตัวอย่างของศูนย์สำหรับการศึกษาตามอัธยาศัยมา


ชื่อศูนย์การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าใหม่1 นโยบาย ของศูนย์ วิสัยทัศน์ และกลุ่มเป้าหมายปรัชญา กศน. ท่าใหม่ เรียนรู้ตลอดชีวิต คิดเป็น เน้นคุณธรรม นำความรู้สู่พอเพียงวิสัยทัศน์ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าใหม่ เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมและจัดการให้เกิดการเรียนรู้ สร้างความเข้มแข็งของชุมชน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดชีวิตพันธกิจ1.จัดการศึกษาตามความต้องการและจำเป็นให้กลุ่มเป้าหมายนอกระบบโรงเรียนตามความต้องการและจำเป็น        2.ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคีเครือข่าย จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต      3.ควบคุมคุณภาพการจัดการศึกษาพื้นฐานและการจัดการศึกษาต่อเนื่องที่จัดโดยสถานศึกษาและเครือข่าย เพื่อให้การศึกษามีคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายมีคุณธรรม ความรู้ และมีทักษะการดำรงชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4.สร้างและกระจายโอกาสการเรียนรู้  โดยการกระจายแหล่งเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยี เพื่อตอบสนองความต้องการเรียนรู้ตลอดชีวิต 

แหล่งที่มาของศูนย์
การศึกษาตามมอัธยาศัยอำเภอท่าใหม่ จัดตั้งขึ้นเมื่อได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ วันที่ 27 สิงหาคม 2536 ในนามของ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอท่าใหม่ เป็นสถานศึกษาในราชการบริหารส่วนกลาง ครั้งแรกได้เปิดทำการอยู่ที่ วัดศรีเมือง เทศบาลตำบลหนองคล้า อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ต่อมา วัดบูรพาพิทยาราม ได้ให้ความอนุเคราะห์ให้ใช้อาคารห้องสมุดประชาชนอำเภอท่าใหม่เฉลิมพระเกียรติ เป็นที่ทำการสถานศึกษา ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2541 จนถึง ปัจจุบันปัจจุบัน ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นสถานศึกษาใหม่ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2551 ในชื่อของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าใหม่ คำขวัญประจำอำเภอท่าใหม่  วัดเขาสุกิมลือนาม ทะเลงามเล่าขาน ตำนานเขาพลอยแหวน ดินแดนผลไม้มากมายปะการัง สะพานดังแขมหนู ฝูงพะยูนอ่าวคุ้งกระเบนวันที่ค้นข้อมูล 14 ธันวาคม 2554,เข้าถึงได้จาก




วันอาทิตย์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2555

กิจกรรมการเรียนรู้สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง การจัดการ

กิจกรรมการเรียนรู้สัปดาห์ที่ 2

การจัดการ
ความหมาย
การจัดการ เป็นการดาเนินงานหรือกระบวนการใดๆ ของบุคคลตั้งแต่
2 คนขึ้นไป เพื่อที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งเอาไว้ร่วมกัน โดยคานึงถึงการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด และมีองค์ประกอบ คือ

1.เป้าหมายที่ชัดเจน(Goal)
2.ทรัพยากรในการบริหารที่มีจากัด(Management Resources)
3.การประสานงานระหว่างกัน(Co-ordinate)
4.การแบ่งงานกันทา (Division)
สรุป
การใช้คน ทรัพยากร และเทคนิคต่างๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานในแต่ละฝ่ายงานย่อยสาเร็จลุล่วงไปตามวัตถุประสงค์ หรือตามแผนงานที่วางไว้
2.1 โครงสร้างการบริหารงาน
สำนักหอสมุดแบ่งการดำเนินงานดังนี้
  • สำนักงานเลขานุการ
  • ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • ฝ่ายบริการสารสนเทศ
  • ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
  • ฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ
  • ฝ่ายเอกสารและวารสาร
  • ฝ่ายโสตทัศนศึกษา


2.2 การให้บริการ
l ตอบคำถามและ        ช่วยการค้นคว้า
l แนะนำการใช้ห้องสมุด
l ฝึกอบรมการสืบค้นสารสนเทศ
l อุปกรณ์สำหรับเข้าเล่มรายงาน
-      ห้องศึกษากลุ่ม/เดี่ยว
-       Research Zone
-       Quite Zone
l บริการศูนย์การเรียนรู้      ด้วยตนเอง
l  โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม    UBC,  เครื่องเล่นวีดิโอ,     วีซีดี, ดีวีดี, เทปเสียง,     มัลติมีเดีย-ซีดีรอม
l อินเทอร์เน็ต

2.3 การดูแลรักษาทรัพยากรในสำนักหอสมุด

1.  หนังสือทุกเล่มที่รับเข้ามาใหม่ในห้องสมุดก่อนจะทําการจัดหมวดหมู่เพื่อนําส่งขึ้นชั้น
ใหบริการนั้นจะต้องผ่านกระบวนการคัดแยกตามประเภทของปกป้องและประเภทของสิ่งพิมพ์กล่าวคือจะ
คัดแยกหนังสือออกเป็น 4 ประเภทได้แก่ หนังสือปกแข็ง หนังสือปกอ่อน และวิทยานิพนธ์ (ฉบับ
สําเนา)
2.  หนังสือที่ออกให้บริการในห้องสมุดแล้วชํารุด ส่วนงานให้บริการผู้ใช้จะรวบรวมส่งให้
งานบํารุงรักษาหนังสือดําเนินการรับมาทําความสะอาดและคัดแยกประเภทการซ่อม โดยจําแนกการ
ซ่อมออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่การซ่อมแบบสมบูรณ์ (Full repair) การซ่อมกึ่งสมบูรณ์ (Half repair)
การซ่อมบางส่วน (Partial repair)  และการเย็บเล่มเข้าปกแข็ง (binding)
3.  การรบหนังสือชำรุดจากส่วนให้บริการผู้ใช้จะต้องตรวจสอบเอกสารนําส่งซึ่งแนบมาให้
ถูกต้องตรงกัน เมื่อมีรายการใดไม่ถูกต้องจะทําการทักท้วงและนําเอกสารส่งคืนเพื่อตรวจสอบและแก้ไข
ให้ถูกต้องตรงกับจํานวนและรายการหนังสือที่ได้รับจริงทุกครั้ง
4.  สําหรับหนังสือที่ถูกส่งมารับการบำรุงรักษาไม่ว่าจะด้วยวิธีใด จะเป็นหนังสือใหม่แรกรับ
หรือหนังสือเก่าออกให้บริการแล้วชํารุดส่งซ่อมก็ตาม เมื่อมีผู้ใช้บริการต้องการใช้ด่วน งานบํารุงรักษา
หนังสือจะดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมงหลังจากได้รับคําร้องขอ                                            
5.   วัสดุที่ใช้ในการบํารุงรักษาหนังสือจะเป็นไปด้วยความประหยัดตามวิธีการในการบํารุงรักษาแต่ละวิธีซึ่งแตกต่างกันไป โดยหากวัสดุเดิมของหนังสือยังใช้ได้





การจัดการ ความหมาย การจัดการ เป็นการดาเนินงานหรือกระบวนการใดๆ ของบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เพื่อที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งเอาไว้ร่วมกัน โดยคำนึงถึงการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด และมีองค์ประกอบ คือ
 1.เป้าหมายที่ชัดเจน(Goal)
 2.ทรัพยากรในการบริหารที่มีจากัด(Management Resources)
 3.การประสานงานระหว่างกัน(Co-ordinate)
4.การแบ่งงานกันทา (Division) 

สรุป การใช้คน ทรัพยากร และเทคนิคต่างๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานในแต่ละฝ่ายงานย่อยสาเร็จลุล่วงไปตามวัตถุประสงค์ หรือตามแผนงานที่วางไว้


2.1 โครงสร้างการบริหารงาน